บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก ธันวาคม, 2017

โจทย์ตัวอย่าง

รูปภาพ
  ตัวอย่างที่1 ตัวอย่างที่2 ตัวอย่างที่ 3 ตัวอย่างที่ 4

ค่ามุมตรีโกณมิติพื้นฐาน

รูปภาพ

สูตรตรีโกณมิติ

รูปภาพ
   สูตรตรีโกณมิติที่ควรรู้ และ จำได้

นิยามจากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก

รูปภาพ
       รูปสามเหลี่ยมมุมฉากจะมีมุมหนึ่งมีขนาด 90° (π/2 เรเดียน) ในที่นี้คือ C ส่วนมุม A กับ B นั้นเปลี่ยนแปลงได้ ฟังก์ชันตรีโกณมิติกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างความยาวด้านและมุมภายในรูปสาม เหลี่ยมมุมฉากในการนิยามฟังก์ชันตรีโกณมิติสำหรับมุม  A  เราจะกำหนดให้มุมใดมุมหนึ่งในรูปสามเหลี่ยมมุมฉากเป็นมุม  A  เรียกชื่อด้านแต่ละด้านของรูปสามเหลี่ยมตามนี้ ด้าน ตรงข้ามมุมฉาก  (hypotenuse) คือด้านที่อยู่ตรงข้ามมุมฉาก หรือเป็นด้านที่ยาวที่สุดของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ในที่นี้คือ  h ด้าน ตรงข้าม  (opposite side) คือด้านที่อยู่ตรงข้ามมุมที่เราสนใจ ในที่นี้คือ  a ด้าน ประชิด  (adjacent side) คือด้านที่อยู่ติดกับมุมที่เราสนใจและมุมฉาก ในที่นี้คือ  b

ความหมายของตรีโกณ

รูปภาพ
      อัตราส่วนตรีโกณมิติ (Trigonometric Ratio) หมายถึง อัตราส่วนของด้านของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก การเรียนในเรื่องนี้ผู้เรียนจำเป็นต้อง ใช้ความรู้เดิมเรื่องสามเหลี่ยมคล้ายเพื่อเป็นพื้นฐานในการทำความเข้าใจ การเรียนวิชาตรีโกณมิติให้ได้ดีนั้นต้องจำนิยามของตรีโกณมิติให้ได้ ระดับมัธยมต้นใช้นิยามสามเหลี่ยมมุมฉาก ซึ่งอัตราส่วนตรีโกณมิติ ก็คือ อัตราส่วนของความยาวด้านสองด้า นของสามเหลี่ยมมุมฉากซึ่งจะมีชื่อเรียกดังนี้